วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ไวน์


ไวน์
(Wine)











ประเทศฝรั่งเศสเป็นถิ่นกำเนิดไวน์ชั้นเยี่ยม อาทิ แชมเปญ บอร์โดซ์ เบอร์กันดี และไม่มีประทศใดในโลกที่สามารถผลิตไวน์ได้หลากหลายชนิดเท่าฝรั่งเศส ไวน์เป็นสัญญลักษณ์เฉพาะของงานเลี้ยง ดังนั้นการเรียนรู้วิธีเสิร์ฟไวน์ที่ถูกต้อง และการลิ้มรสไวน์ให้ได้รสชาติอย่างแท้จริง เพื่อเข้าใจในคุณค่าของไวน์
การเตรียม ไวน์ ให้ได้รสชาติอย่างแท้จริง จำเป็นที่จะต้องให้ไวน์สร้างความรู้สึกในปากของเรา ขึ้นอยู่กับสี กลิ่น และรสชาติของไวน์
ไวน์ขาวรสหวาน แชมเปญ และสปาร์คคลิ่งไวน์ ควรจะเสิร์ฟที่อุณภูมิระหว่าง 6 ถึง 8 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิต่ำกว่านี้กลิ่นหอมก็จะถูกเก็บกับกไว้ ไวน์จะไม่สามารถ"หายใจ"ได้ และกลิ่นหอมของดอกไม้ก็จะถูกกักไว้ ส่วนไวน์ชนิดดรายและไวน์โรเช่ ควรจะเสิร์ฟขณะเย็น แต่ไม่ควรเป็นน้ำแข็ง หรือเย็นจัดจนเกินไป กล่าวคือ ควรเสิร์ฟที่อุณหภูมิ สูงกว่าไวน์ชนิดที่กล่าวมาแล้วข้างต้นที่อุณหภูมิระหว่าง 8 ถึง 12 องศาเซลเซียส
ไวน์แดงรสเบา จะมีรสชาติดีที่สุดที่อุณหภูมิระหว่าง 12 ถึง 14 องศาเซลเซียส
ไวน์แดงรสหนัก ควรเสิร์ฟที่อุณหภูมิห้อง คือ อุณหภูมิของห้องที่เย็นปานกลาง ระหว่าง 15 ถึง 18 องศา
เคล็ดลับของ ไวน์
ไวน์ที่เก็บบ่มน้อยปี ควรเสิร์ฟให้เย็นกว่าไวน์ที่เก็บบ่มไว้นานปี
มักจะนิยมเสิร์ฟไวน์ที่เย็นกว่าอุณหภูมิที่แนะนำ เพราะเมื่ออยู่ในแก้วไวน์จะอุ่นขึ้นอย่างรวดเร็ว
การเตรียมล่วงหน้าว่าจะเสิร์ฟไวน์ชนิดใดเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากจะต้องค่อยๆ ปล่อยให้ไวน์อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยไม่ให้มีการปะทะกับความร้อนจัด หรือเย็นจัดโดยทันที
อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บไวน์



ไวน์ขาว ไม่ควรเสิร์ฟขณะเป็นน้ำแข็ง หรือเย็นจัดเกินไป
ไวน์แดง ไม่ควรเสิร์ฟอุ่นเกินไป "การทำให้อุ่น" จนถึงระดับอุณหภูมิห้องมิได้หมายถึงการอุ่นให้ร้อน
ไม่ควรอุ่นไวน์ชั้นดี ที่เก็บบ่มนานปีโดยทันทีทันใด เช่น การแช่ขวดลงในน้ำร้อน
ไม่ควรวางขวดไวน์บนเครื่องทำความร้อน
การเปิดขวด ไวน์
ไวน์ขวดพิเศษซึ่งได้รับการเลือกสรรเป็นอย่างดีเพื่อเสิร์ฟบนโต๊ะอาหาร จะถูกเก็บไว้ในที่สงบเป็นเวลาหลายวัน พ้นจากแสงแดด และความร้อนที่อุณหภูมิคงที่ 10 ถึง 15 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะถ้าเป็นไวน์แดงชั้นเยี่ยม
ก่อนที่จะนำเสนอให้แขก ควรจะตรวจดูว่ามีตะกอนที่มองเห็นได้ชัดอยู่ในขวดหรือไม่ ถ้าไม่มีท่านก็ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ดีแคนเตอร์ (Decanter) หรือตะกร้าไวน์(Cradle) ในการเสิร์ฟ
ถ้าเป็นไวน์ชนิดที่เก็บมานานมักจะมีเศษตะกอนแทนนิค (Tannic) ซึ่งเป็นเครื่องแสดงคุณภาพสูงของไวน์ ที่มักจะปรากฎอยู่ภายในขวด ในกรณีนี้ควรระวังให้มีการขยับขวดน้อยที่สุด และควรจะวางขวดในแนวนอน
การเปิดขวดไวน์นับเป็นงานที่ละเอียดอ่อนมาก และควรกระทำด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง ควรใช้ที่เปิดขวดไวน์ (Corkscrew) ที่มีคุณภาพดีเท่านั้น
ค่อยๆ ตัดพลาสติกหรือแผ่นโลหะที่หุ้มคอขวดบริเวณด้านล่างขอบปากขวด ขณะรินไวน์ไม่ควรสัมผัสบริเวณนี้ โดยทั่วไปแล้วจะตัดแต่ส่วนขอบปากขวดออก และเหลือส่วนที่หุ้มคอขวดไว้
หลังจากนั้นใช้ผ้าสะอาดเช็ดขอบปากขวด (หรือที่ซอมเมอลิเยร์ เรียกว่า Liteau) เมื่อเจาะสกรูลงไปบริเวณศูนย์กลางของจุกคอร์ก ขณะหมุนสกรูลง ระวังอย่าดันจุกคอร์กให้หลุดลงไปในขวด จากนั้นดึงขึ้นในแนวตรง ระวังอย่าให้จุกคอร์กขาด ไวน์ชั้นเยี่ยมที่ต้องเก็บไว้นานๆ มักมีจุกคอร์กยาวกว่าไวน์ธรรมดา
ก่อนที่จะรินไวน์หยดแรกลงในแก้ว ควรใช้ผ้าสะอาดเช็ดขอบปากขวดอีกครั้ง ถ้ามีรสของจุกคอร์กควรจะส่งคืนพนักงานไปทันที
ในการเปิดขวดแชมเปญ หรือสปาร์คคลิ่งไวน์ ขั้นแรก ต้องค่อย ๆ ดึงลวดที่ผูกปากขวด (Wire Cage) ออกเสียก่อน
ขั้นต่อไป เอียงขวดทำมุม 45 องศา ใช้มือข้างหนึ่งจับไว้ที่จุกคอร์ก และมืออีกข้างจับบรเวณก้นขวด หมุนไป-กลับ 90 องศาจนกอร์กค่อยหลุดออก ด้วยวิธีนี้แก๊สจะค่อยลอดผ่านออกมา โดยไม่ทำให้จุกคอร์กกระเด็น และไม่เสียไวน์ที่ไหลเลอะเป็นฟองออกมาอีกด้วย
ก่อนเสิร์ฟไวน์ เช็ดขอบปากขวดด้วยผ้าสะอาด ในการเสิร์ฟ รินไวน์เพียงเล็กน้อยลงในแก้วทุกใบ พักสักครู่ก่อนจะรินเติมให้ได้ระดับ 2/3 ของแก้ว
การเลือกแก้ว ไวน์
ไวน์ชั้นดีย่อมคู่ควรกับแก้วที่เหมาะสม แม้ว่าจะมีแก้ไวน์อยู่หลายรูปทรงด้วยกันที่ใช้ในการดิ่มไวน์ชนิดพิเศษของแต่ละแคว้น หรือไวน์ชั้นยอด "Appellations" ลักษณะเฉพาะของแก้วดังต่อไปนี้จะมีส่วนช่วยในการดื่มไวน์ให้ได้รสชาติยิ่งขึ้น
ควรเลือกแก้วเนื้อบางไม่มีสีและใส เพื่อโชว์สิ่งที่ซอมเมอร์ลิเยร์เรียกว่าอาภรณ์ หรือ ร็อบ ของไวน์ นั่นคือ สี ความใส และลักษณะทั่วไปของไวน์
รูปทรงของแก้ว ควรพองออกด้านข้าง ส่วนปากแคบเข้าเล็กน้อย เพื่อกลิ่นหอมของไวน์จะรวมตัวกระจายขึ้นด้านขนของแก้ว และทำให้รับรู้กลิ่นบูเกต์ (Bouquet) ได้ดีขึ้น
ขนาดของแก้วควรใหญ่พอสมควร เพื่อให้เสิร์ฟไวน์ได้ในปริมาณพอเหมาะ โดยไม่เกินระดับ 2/3 ของแก้ว
แก้วชนิดมีก้านยาวประมาณ 4-5 ชม. จะจับถนัดมือกว่า และไวน์จะไม่สัมผัสกับความร้อนจากมือ
แก้วที่ใช้ควรใสสะอาดหมดจด ไม่มีรอยลิปสติก รอยนิ้วมือ ฝุ่น หรือรอยขีดข่วน เช็ดและขัดเงาแก้วด้วยผ้าแห้งที่สะอาดก่อนจะนำออกมาใช้เสมอ
วิธีการวางแก้วบนโต๊ะอาหาร
สำหรับแขกแต่ละท่าน ควรงางแก้วน้ำ 1 ใบ และแก้วไวน์ 1 ใบ ต่อชนิดของไวน์ที่จะเสิร์ฟหรืออย่างน้อย วางแก้วไวน์ตามสีของไวน์ (1 ใบต่อ 1 สี)
การวางแก้วควรเรียงลำดับตามความสูงของแก้วจากสูงไปหาต่ำนับจากด้านซ้ายมือ แก้วไวน์ขาวจะเล็กกว่าแก้วไวน์แดง แก้วน้ำควรวางด้านซ้ายมือ
การรินไวน์และเสิร์ฟไวน์


ทุกคนสามารถเป็นผู้ชำนาญในการรินไวน์และเสิร์ฟไวน์ได้ เพียงปฏิบัติตามเทคนิคดังนี้
ขณะรินไม่ควรให้มือบังฉลากไวน์ เพราะถือว่าฉลากไวน์เป็นเครื่องตกแต่งของไวน์ และเป็นเสน่ห์อีกอย่างหนึ่งที่ควรชื่นชม โดยฉลากไวน์ควรหันเข้าหาผู้ที่เรากำลังเสิร์ฟ
ให้ปากขวดอยู่ใกล้กับแก้วแต่มิให้สัมผัสโดนแก้ว เพื่อให้ไวน์ไหลลงแก้วอย่างนุ่มนวล โดยไม่กระเซ้นออกนอกแก้ว
ระวังอย่าให้ไวน์หยดลงบนโต๊ะเมื่อรินเสร็จ ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้ โดยบิดขวดเล็กน้อย และยกปากขวดขึ้นจากแก้ว เช็ดปากขวดเสียก่อนที่จะเสิร์ฟให้แขกท่านต่อไป
ไม่ควรรินไวน์เกินระดับ 2/3 ของแก้ว
สำหรับแชมเปญ และสปาร์คคลิ่งไวน์ใช้เทคนิคเดียวกันนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้ฟองไวน์ไหลล้นออกมาเลอะเทอะ แต่จะต้องใช้ความนุ่มนวนในการริน ค่อย ๆ รินอย่างช้าๆ
การเลือกไวน์ในภัตตาคาร
ไวน์เชลล่าร์(Wine Cellar)เป็นส่วนสำคัญในการเก็บไวน์ให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม ไวน์ที่ท่านเลือกควรมีการนำไปทำให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสมก่อนเสิร์ฟ
ไวน์ลิสต์(Wine List) ในไวน์ลิสต์ ไวน์ต่างชนิดจะถูกแบ่งตามชนิด และแคว้นที่ผลิต โดยจะระบุชื่อ "ชาโต" (Chateau) หรือ โดเมน (Domaine) พร้อมทั้งจำนวนปีที่เก็บบ่ม และราคา
การชิมไวน์
เขตพื้นที่ที่มีการปลูกองุ่นในประเทศฝรั่งเศสครอบคลุมพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล จากเหนือจรดใต้ จากตะวันออกจรดตะวันตก ระยะห่างนี้ก่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างเขตพื้นที่ ซึ่งมีผลต่อลักษณะของดินที่ใช้ปลูกองุ่น ทิศทางที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์และภูมิอากาศ และนี่ก็เป็นเหตุผลที่ว่าเหตุใดไวน์ที่ได้จากเขตเพาะปลูกองุ่น จึงมีลักษณะเฉพาะตัวที่ต่างกันออกไป
ประเทศฝรั่งเศสให้ผลผลิตไวน์นานาชนิดแก่นักชิมไวน์ทั้งหลาย คือมีไวน์ appellations กว่า 400 ชนิด และแว็งเดอเปยี อีกมากมายหลายชนิดด้วยกัน ซึ่งมีสีสัน รสชาด และลักษณะเฉพาะตัวให้เลือกตามรสนิยม และความพอใจอย่างเหลือเฟือ
สุดท้ายนี้ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะจิบไวน์อย่างได้รสชาดและกลิ่นหอมนุ่มของไวน์ ด้วยความเพลิดเพลินและจิบเพื่อสุขภาพเท่านั้นเป็นพอ

La Loire

La Loire





Pays de la Loire is a region of western France, comprising the departments of Loire-Atlantique (44), Maine-et-Loire (49), Mayenne (53), Sarthe (72) and Vendée (85). It has an area of 32,082 km2 (12,387 mi2) and a population of 3,222,061 (1999); the capital is Nantes. Pays de la Loire has a long coast on the Bay of Biscay to the west and is bordered by Brittany to the north and west, Lower Normandy to the north, Centre to the east, and Poitou-Charentes to the south.


Departments of Pays de la Loire
The region is cut from east to west by the Loire River. The Loire Valley (French: Val de Loire) is central to the region's economy and its cultural and educational activities. Due to its rich heritage, this region has been declared a World Heritage for Humanity Site by UNESCO, which described it as a "cultural landscape of exceptional beauty."
Pays de la Loire has an abundance of small farms, and the predominant agricultural pursuit is the raising of cattle and pigs and the making of dairy products. Its Atlantic coast is the site of a number of fishing and shipping ports, and ducks are also raised in this area. Iron and uranium are mined in Pays de la Loire, and its industries produce motor vehicles, ships, and textiles. Historically, Pays de la Loire was divided among the provinces of Brittany, Anjou, Maine, and Poitou (now in Poitou-Charentes).

วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Jour de l'an

Jour de l'An

Le Jour de l'an[1] est le premier jour de l'année d'un calendrier donné. Par extension le terme désigne aussi les célébrations de ce premier jour.
Pour les calendriers solaires (comme le
calendrier grégorien), la date du Jour de l'an est fixe d'une année sur l'autre, alors qu'elle est dite mobile dans le cas des calendriers luni-solaire (comme le calendrier chinois).

Noël

Noël



Noël est une fête chrétienne célébrant chaque année la naissance de Yeshoua, fils de Marie, dont le nom araméen a été traduit en français par Jésus de Nazareth. Cette naissance est aussi appelée Nativité.
Sa célébration à la date du
25 décembre a été fixée tardivement dans l'empire romain d'occident vers le milieu du IVe siècle. La royauté du Christ n'étant pas de ce monde, certains comme Origène (milieu du IIIe siècle) refuse de célébrer cete naissance ainsi qu'on le faisait à l'époque pour un souverain temporel (roi, empereur, pharaon). Avant de la placer à la date d'une la célébration solaire liée au solstice d'hiver[1] plusieurs dates furent proposées : 18 novembre, 6 janvier... Le 25 décembre marquait depuis Aurélien (v.270) l'anniversaire du Sol Invictus et de la renaissance annuelle de Mithra , [2]. Pour des raisons symboliques, et dans un souci de christianiser les anciennes fêtes païennes, cette date fut progressivement étendue à tout l'occident latin. Les Églises orthodoxes, qui suivent le calendrier julien, célèbrent Noël le 6 janvier, mais seule l'Église Arménienne a conservé la date précise du 6 janvier comme jour de la fête de Noël[3],
Constituant avec
Pâques une des grandes fêtes chrétiennes, Noël est s'est progressivement chargé de traditions locales, mélanges d'innovations et de maintien de folklore ancien, au point de présenter l'aspect d'une fête profane populaire possédant de nombreuses variantes, dans le temps comme dans l'espace. L'association de la mémoire d'une naissance a facilité la place centrale prise par la famille dans le sens et le déroulement de cette fête. L'Église catholique romaine insiste par exemple sur cet aspect depuis l'instauration en 1893 de la fête de la Sainte Famille, le dimanche suivant le 25 décembre. Les cadeaux, sous forme d'étrennes, semblent être une réminiscence des cadeaux effectués lors des fêtes saturnales de décembre (strenae) [4] Le don est présent dans de nombreuses traditions, comme celle de servir une repas au premier pauvre croisé au jour de Noël, ou dans l'exceptionnelle générosité des aumônes accordées aux mendiants à la sortie de l'office célébré durant la nuit de Noël. « La période de Noël, qui est très chargée cérémoniellement, possède une certaine intensité rituelle. Même si nous vivons fondamentalement dans une société marchande, il y a dans cet échange de cadeaux quelque chose qui est de l'ordre du don et qui est universel dans son principe: ils créent, maintiennent et consolident des liens; ils constituent en quelque sorte une matrice du social.», [5].
La popularité de cette fête a fait que
Noël est devenu un patronyme et un prénom.

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Fête de La Musique


Fête de La Musique



เทศกาลดนตรีวงดนตรีฝรั่งเศสและไทยวันจัดแสดง: 21 มิถุนายน ตั้งแต่เวลา 14.00 น. ถึง 01.00 น.

สถานที่: ลานหน้า Central World และที่อุทยานการเรียนรู้ TK Park ( รถไฟฟ้า สถานีสยาม หรือ ชิดลม)



Music day in Bangkok



“วันแห่งดนตรี” หรือ “เทศกาลดนตรี” เริ่มขึ้นในฝรั่งเศสเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2525 ในโอกาสการฉลองวันแรกแห่งฤดูร้อน ได้จัดกันอย่างแพร่หลายในร้อยกว่าประเทศ สำหรับ “เทศกาลดนตรี” ที่จัดขึ้นที่กรุงเทพฯนั้น จัดขึ้นเป็นปีที่ 12 แล้ว ประกอบด้วยรายการดนตรีที่มีทั้งฝรั่งเศสและไทย เพื่อส่งเสริม การแลกเปลี่ยนทางดนตรีระหว่างสองประเทศเรา นอกจากศิลปินที่มีชื่อเสียงของวงการเพลงทั้งฝรั่งเศสและไทย ยังมีคณะนักดนตรีและนักร้องสมัครที่เข้ามาเล่นร่วมเวทีกับมืออาชีพเหล่านั้น เพราะสำหรับพวกเขาแล้ว “เทศกาล ดนตรี” มักเป็นจุดนัดพบแห่งแรกกับว่าที่แฟนคลับ ในอนาคตปีนี้ “เทศกาลดนตรี” จะเป็นงานฉลองแนวเพลงทุกประเภท และเป็นงานของนักดนตรีทุกประเภทด้วย (เด็ก, ผู้ใหญ่, มือสมัครเล่น และมืออาชีพ)
ตั้งแต่เวลา 14.00 น. เป็นต้นไป ก็จะมีการแสดง หลากหลายบรรยากาศของกลุ่มเยาวชน คนหนุ่มสาว หลายกลุ่ม มาร่วมสร้างความสนุกสนาน บนลานหน้าเซ็นทรัลเวิล์ด และในอุทยานการเรียนรู้ TK Park
และเมื่อถึงเวลา 18.00 น. เป็นต้นไป ก็จะมีวงดนตรีที่มีชื่อของวงการเพลงไทยหลายวง มาร่วมเล่นกับวง “Gong Gong” ของฝรั่งเศส บนเวทีหลักของงานจนถึงดึก เพื่อสร้างค่ำคืนแห่งเพลงอิเล็กโทรนิกส์ ซึ่งต่างฝ่าย ต่างได้ค้นพบ และแลกเปลี่ยนเทคนิคของกันและกัน


วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

1. L'interrogation indirecte : rapporter des questions [การถามแบบอ้อมๆ : การยกคำถามมาถามใหม่อีกครั้ง]

1. L'interrogation indirecte : rapporter des questions [การถามแบบอ้อมๆ : การยกคำถามมาถามใหม่อีกครั้ง] :
1. 1 La question portant sur toute la phrase : [ถามทั้งประโยค โดยคำตอบจะเป็น "oui", "non" หรือ "si" ] เราจะใช้ "si" ในการเชื่อมประโยค โดยมีความหมาย = " ....... หรือไม่" :- Paul : "Est-ce que tu aimes la musique classique ?" ---> Paul demande à Sophie si elle aime la musique classique.- La mère : "Tu ne vas pas à l'école aujourd'hui ?"---> Ma mère me demande si je ne vais pas à l'école aujourd'hui.- Prangsaï : "Aï-Rada, tu veux bien m'aider pour mes devoirs ?"---> Prangsaï veut savoir si Aï-Rada veut bien l'aider pour ses devoirs.- Wararat : "Est-ce que je vais réussir à l'examen de français ?"---> Wararat se demande avec inquiétude si elle va réussir à l'examen de français.

1. 2 La question portant sur une partie de la phrase : [ถามส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค ด้วยคำที่ใช้ตั้งคำถาม (mot interrogatif) เช่น Qui, Quand, Comment, Pourquoi, Où, ...] เราจะใช้ "mot interrogatif" ตัวเดิม ในการเชื่อมประโยค :
- Le professeur : "Pourquoi apprenez-vous le français ?"---> Le professeur demande à ses élèves pourquoi ils apprennent le français.- Le père à Ratikorn : "Qui t'a téléphoné ?" ---> Son père lui demande qui lui a téléphoné. - Un touriste à un passant : "Où est la gare, s'il vous plaît ?"---> Un touriste veut savoir où est la gare. - Un Français : "À quelle heure commence l'école en Thaïlande ?"---> Il veut savoir à quelle heure l'école commence en Thaïlande.

1. 2. 1 La question avec " Qu'est-ce qui ... ? " : [คำถามที่ถามว่า "อะไร" (ทำหน้าที่ประธาน)] เราจะใช้ " ce qui " = สิ่งที่ซึ่ง ในการเชื่อมประโยค :
- Souchada : "Qu'est-ce qui se passe ?" "Pourquoi ris-tu ?"---> Souchada demande à Thannmaporn ce qui se passe et pourquoi elle rit.- Nathienat : "Qu'est-ce qui te plaît dans cette école, Yaem ?" ---> Nathienat veut savoir ce qui plaît à Yaem dans cette école.

1. 2. 2 La question avec " Qu'est-ce que ... ? " : [คำถามที่ถามว่า "อะไร" (ทำหน้าที่กรรม)] เราจะใช้ " ce que " = สิ่งที่ซึ่ง ในการเชื่อมประโยค :
- Pattaraporn : "Qu'est-ce que tu fais dimanche ?" ---> Pattaraporn demande à Phasika ce qu'elle fait dimanche.- Kanntarat : "Que penses-tu de mon nouveau portable, Chonlada ?"---> Kanntarat demande à sa copine ce qu'elle pense de son nouveau portable.

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

++ Bada Bada by Joanna Wang ++

++ Bada Bada by Joanna Wang ++
เพลงจากนักร้องชาวไต้หวัน Joanna Wang สาวสวยวัย 20 ที่ไปเติบโตอยู่ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบันเธอกลับมาอาศัยอยู่ที่ไต้หวัน โดยพ่อของเธอเป็นถึงโปรดิวเซอร์ชื่อดัง เมื่อปีที่แล้วเธอออกอัลบั้มชุดแรกที่ชื่อว่า Start From Here...Bada Bada ไม่มีความหมายอะไรในภาษาอังกฤษ แต่ไม่ทราบว่ามีความหมายอะไรในภาษาไต้หวันหรือเปล่า? …
The rustling leaves and the chilly midnight windเสียงใบไม้แห้งกระทบกันและสายลมหนาวยะเยือกยามเที่ยงคืน
I wonder if it’s your car pulling into the drivewayฉันสงสัยว่าเป็นรถของคุณใช่ไหมที่กำลังจอดตรงถนนทางเข้า
Baby do you know what it’s like to wait?ที่รัก คุณรู้หรือไม่ ว่าการรอคอยเป็นอย่างไร?
Well I’ve been waiting all my life for you คือ ฉันเฝ้ารอมาทั้งชีวิตเพื่อคุณ
And would you believe in things และคุณจะเชื่อในสิ่งต่างๆ
That I shall say today?ที่ฉันจะพูดในวันนี้หรือไม่?
Would you believe in me? คุณจะเชื่อมั่นในตัวฉันไหม?
Oh baby, baby, baby, oh baby โอ้ ที่รัก, ที่รัก, ที่รัก, โอ้ ที่รัก
Bada bada, bada bada Do you know I want you so bad?คุณรู้ไหมว่าฉันต้องการคุณมากเพียงใด ?
Something stirs deep in my heart, oh babe, บางอย่างกำลังปั่นป่วนลึกลงไปในใจฉัน โอ้ ที่รัก yeah yeah yeah.
Bada bada, bada badaDo you know I want you so bad?คุณรู้ไหมว่าฉันต้องการคุณมากเพียงใด ?
Something stirs deep in my heart, oh babe, บางอย่างกำลังปั่นป่วนลึกลงไปในใจฉัน โอ้ ที่รัก yeah yeah yeah.
The rustling leaves and the chilly midnight windเสียงใบไม้แห้งกระทบกันและสายลมหนาวยะเยือกยามเที่ยงคืน
It’s time to leave in your car you parked in the drivewayถึงเวลาที่ต้องไปโดยรถที่คุณจอดไว้ตรงถนนทางเข้า
The night is cool and the skies are darkกลางคืนช่างหนาวเหน็บและท้องฟ้าก็มืดมน
Well I’ve been waiting all my life for thisคือ ฉันเฝ้ารอเพื่อสิ่งนี้มาทั้งชีวิต
And would you believe in thingsและคุณจะเชื่อในสิ่งต่างๆ
That I shall say today?ที่ฉันจะพูดในวันนี้หรือไม่?
Would you believe in me?คุณจะเชื่อมั่นในตัวฉันไหม?
Oh baby, baby, baby, oh babyโอ้ ที่รัก, ที่รัก, ที่รัก, โอ้ ที่รัก
Bada bada, bada badaDo you know I want you so bad?คุณรู้ไหมว่าฉันต้องการคุณมากเพียงใด ?
Something stirs deep in my heart, oh babe, บางอย่างกำลังปั่นป่วนลึกลงไปในใจฉัน โอ้ ที่รักyeah yeah yeah.

วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Le passé récent

Le passé récent

การใช้ : Le passé récent ใช้บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป
- Le train vient d' entrer en gare. Les passagers en descendent. (รถไฟเพิ่งเข้าสู่สถานี ผู้โดยสารกำลังลงจากรถไฟ)
- Vous voulez un café ? (คุณต้องการกาแฟสักถ้วยไหม)
+ Non, merci. je viens d' en prendre. (ไม่หรอกครับ ขอบคุณ ผมเพิ่งจะดื่มมา)
รูปแบบ : Le passé récent สร้างโดยใช้ verbe "venir de" ในรูป présent + infinitif :
Je viens de déjeuner.
Tu viens de rentrer ?
Il / Elle vient de sortir.
Nous venons de commencer.
Vous venez d' écouter France-Inter.
Ils / Elles viennent d' entrer en classe.

วันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Lettre du Président de la République Française au Roi de Thaïlande [จดหมายจากประธานาธิบดีฝรั่งเศส ถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]





ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
ปารีส วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2550
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
เนื่องในวันชาติไทยและวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ข้าพระพุทธเจ้าขอแสดงความยินดีและขอถวายพระพรแด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทด้วยความจริงใจ พร้อมถือโอกาสนี้ แสดงความยินดีและส่งพรมายังประชาชนชาวไทยด้วย
ในวโรกาสที่พสกนิกรชาวไทยทุกคนร่วมเฉลิมฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษาในปีพ.ศ.2550 นี้ ข้าพระพุทธเจ้าขอแสดงความเคารพที่มีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท และขอแสดงความชื่นชมต่อบทบาททางประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมีความยินดีที่ได้ทราบว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงมีพระสุขภาพดีขึ้นตามลำดับ
ข้าพระพุทธเจ้าขอย้ำอีกครั้งถึงความสำคัญที่ข้าพระพุทธเจ้ามีต่อมิตรภาพและความเชื่อมั่นต่อกัน ที่มีมาช้านานระหว่างประเทศฝรั่งเศสและไทย ประเทศฝรั่งเศสหวังอย่างยิ่งที่จะเห็นการพัฒนาด้านความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งสอง และหวังว่าปีพ.ศ.2551 จะมีความก้าวหน้าในทุกๆ ด้าน นายแบร์นาร์ด กูชแนร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศฝรั่งเศส ซึ่งได้เดินทางมาเยือนกรุงเทพฯ เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ได้แสดงความจำนงค์ในเรื่องดังกล่าวไปครั้งหนึ่งแล้ว
ข้าพระพุทธเจ้ารู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ประเทศฝรั่งเศสและพระบรมวงศานุวงศ์ไทยมีความสัมพันธ์อันเก่าแก่ การเสด็จเยือนสาธารณรัฐฝรั่งเศสของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ เป็นพยานยืนยันความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองประเทศได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้ ข้าพระพุทธเจ้ายังระลึกถึงสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ซึ่งทรงเป็นดั่งสหายของประเทศฝรั่งเศสมาเป็นเวลาช้านาน และจะซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่ง หากใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจะทรงแสดงความเคารพและถวายพระพรแด่พระองค์ ให้ทรงหายจากพระอาการประชวร
และจะเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น หากใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท จะทรงมอบความปรารถนาดี จากข้าพระพุทธเจ้า ต่อสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า
(ลายมือชื่อ )
นิโกลาส์ ซาร์โกซี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
กรุงเทพฯ

วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำศัพท์ [Vocabulaire]

คำศัพท์ [Vocabulaire] :

- ressentir (v.) = รู้สึก : Il ressent de la sympathie pour cette jeune fille. (เขารู้สึกถูกชะตากับหญิงสาวคนนี้) Il ressent de la sympathie pour cette jeune fille. (เขารู้สึกถูกชะตากับหญิงสาวคนนี้) / ressentiment (n.m.) = ความอาฆาต, ความเจ็บแค้น : Il a gardé un vif ressentiment de cette injustice. (เขาเก็บความแค้นอย่างมากจากความไม่ยุติธรรมนี้)
- se souvenir (v.) = จำได้, ระลึกได้ : Je me souviens toujours très bien de mon dernier séjour en Europe. (ฉันยังจำการไปยุโรปครั้งล่าสุดของฉันได้ดีเสมอ)
- (se) soulager (v.) = บรรเทา, ทำให้เบาลง, ทำให้คลายกังวล : L'aspirine soulage la douleur. (แอสไพรินบรรเทาอาการปวด) / Je suis soulagé de savoir qu'elle est bien arrivée. (ฉันรู้สึกโล่งอกที่ได้รู้ว่าหล่อนมาถึงอย่างปลอดภัยแล้ว) / soulagement (n.m.) = Elle a poussé un soupir de soulagement. (หล่อนถอนหายใจโล่งอก)
- (se) consoler (v.) = ปลอบใจ : La mère a consolé la fille qui pleurait. (แม่ปลอบโยนลูกสาวที่ร้องไห้) / consolation (n.f.) = การปลอบใจ : Il lui a dit quelques mots de consolation. (เขากล่าวคำปลอบใจหล่อนสองสามคำ)
- (s') évader (v.) = หนี : Les prisonniers se sont évadés de la maison d'arrêt. (นักโทษหนีไปจากเรือนจำ) - entourage (n.m.) = สิ่งแวดล้อม, คนที่อยู่รอบข้าง : Le meurtre a été commis par une personne de son entourage. (การฆาตรกรรมกระทำโดยคนรอบข้างของเขา) / entourer (v.) = ล้อมรอบ : La grand-mère est entourée de petits-enfants. (คุณยายถูกห้อมล้อมไปด้วยหลานๆ) / Ma maison est entourée de grands immeubles. (บ้านของฉันล้อมรอบไปด้วยตึกสูง)
- (se) défoncer (v.) = พังเข้าไป, ทะลุทะลวงเข้าไป : Pour pénétrer dans la maison, la police a dû défoncer la porte. (เพื่อที่จะเข้าไปในอาคาร ตำรวจจำเป็นต้องพังประตูเข้าไป)
- (se) détendre (v.) = ผ่อนคลาย, หย่อนใจ : Elle s'est détendue en écoutant de la musique. (หล่อนหย่อนใจโดยการฟังดนตรี) / détente (n.f.) = การผ่อนคลาย, การหย่อนใจ : J'ai besoin d'un moment de détente. (ฉันต้องการพักผ่อนสักครู่)
- profiter (de) (v.) = ถือโอกาส, ฉวยโอกาส, ใช้ประโยชน์จาก : Profitez bien de la vie d'étudiant pour apprendre des choses. (จงใช้ชีวิตการเป็นนักศึกษาให้คุ้มโดยการเรียนรู้สิ่งต่างๆ) / Je profite de cette occasion de fin d'année pour vous souhaiter une bonne et heureuse année 2006. (ผมถือโอกาสช่วงสิ้นปีนี้ในการอวยพรให้คุณมีความสุขสำหรับปี 2006) / profit (n.m.) = กำไร, ผลประโยชน์ : Le charcutier a fait de gros profits cette année. (คนขายเนื้อหมูได้กำไรมากในปีนี้) / profitable (adj.) = ที่กำไร, ที่เป็นประโยชน์ : Cette expérience leur a été profitable. (ประสบการณ์นี้เป็นประโยชน์ต่อพวกเขา)
- délirant (adj.) = ที่เพ้อ, เพ้อฝัน : Elle a une imagination délirante. (หล่อนเพ้อฝันมากเกินไป) / délire (n.m.) = อาการเพ้อ, อาการบ้า : Dans son délire, le malade disait des mots sans suite. (ในช่วงเพ้อ คนป่วยพูดอะไรที่ไม่ปะติดปะต่อกัน)

Ce que vous ressentez vous le dites aussi dans des poèmes.

Ce que vous ressentez vous le dites aussi dans des poèmes.


Écrire pour dire Il n'y a qu'une différence

Écrire pour se souvenir Entre l'école et les vacances

Pour se soulager C'est que je fais ce qui me plaît

Pour se consoler

Rêver pour s'évader Il n'y a qu'une différence

Rêver pour changer Entre la classe et la maison

Pour changer d'entourage C'est le ciel bleu par la fenêtre

De visage

Danser pour se défoncer Il n'y a qu'une différence

Danser pour se détendre Entre la cour et mon jardin

Profiter d'un seul moment C'est que je joue avec mon chien

Super et délirant

SYLVIE Il n'y a qu'une différence

Entre un élève et un ami

C'est que l'ami je le choisis.

CHRISTIAN

Leçon 2 : Comment vivez-vous votre adolescence ?

Comment vivez-vous votre adolescence ?
Quelques témoignages d'ados comme vous.


Il m'arrive de me mettre en colère sans raison. Alors, je m'enferme dans ma chambre, j'écoute de la musique ou j'écris. Je pleure et puis je me calme rapidement. Souvent je ris pour rien et je suis, alors, de bonne humeur pour toute la journée. NICOLE (Paris)


Pendant l'adolescence, on est très heureux ou très malheureux. On est gai, on rit, la vie est belle... et puis on retombe dans le désespoir, on est triste de tout, on veut partir... C'est difficile l'adolescence, mais c'est beau ! ROBERT (Nantes)


Adolescent, on est enfant, mais aussi adulte. On rêve de liberté : on a envie de s'échapper, de décider et d'être indépendant. D'un autre côté, on est heureux de ne pas avoir de responsabilités et de pouvoir compter sur les adultes. MÉLANIE (Bourg-en-Bresse)


คำศัพท์ [Vocabulaire] :


- Il m'arrive de + v. = มันเกิดขึ้นกับฉันในการที่...

- se mettre en colère = ทำให้ตนเองโกรธ (= รู้สึกโกรธ)

- enfermer qqn (v.) = ขัง, / s'enfermer (v.) = ขังตนเอง

- calmer qqn (v.) = ทำให้สงบลง / se calmer (v.) = ทำให้ตนเองสงบลง : Calmez-vous. : Il n'y a rien de grave. (อย่าตื่นตกใจไปเลย ไม่มีอะไรหนักหนาหรอก)

- je ris pour rien = ฉันหัวเราะโดยไม่มีสาเหตุ- retomber (v.) = ตกกลับลงไปสู่...อีกครั้ง

- désespoir (n.m.) = ความสิ้นหวัง / désespérer (v.) = หมดหวัง, สิ้นหวัง, ทำให้สิ้นหวัง : Elle est désespérée de retrouver son enfant perdu dans les Tsunamis. (หล่อนสิ้นหวังในการที่จะได้พบลูกของหล่อนที่หายไปกับคลื่นยักษ์) / espoir (n.m.) = ความหวัง : Elles sont pleines d'espoir de réussir. (พวกหล่อนเต็มไปด้วยความหวังที่จะประสบความสำเร็จ) / espérer (v.) = หวัง, คาดหวัง : J'espère que vous allez bien. (ผมหวังว่าคุณคงสบายดี)

- s'échapper (v.) = หนีไป, หลีกหนีไป : Les détenus se sont échappés de la maison d'arrêt. (นักโทษหนีไปจากเรือนจำ)

- d'un autre côté = อีกด้านหนึ่ง - compter sur qqn / qqch (v.) = ไว้วางใจ, เชื่อมั่นใน... : Tu peux toujours compter sur moi pour t'aider. (เธอสามารถเชื่อมั่นได้เสมอว่าฉันจะคอยช่วยเธอ)

วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ไปเข้าค่ายอบรมผู้นำไรล่ามา 5 วันเลย เอารูปมาให้เพื่อนๆดู


















2 รูปนี้เป็นรูปที่ถ่ายกับน้องที่นอนร่วมห้องกัน



พี่ทั้งสองคนนี้เป็นพี่เลี้ยงกลุ่ม 1 ที่เราอยู่










สมาชิกกลุ่ม 1



การเลือกตั้งหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า และเลขานุการ



*** ประโยชน์ที่ได้รับจากการไปเข้าค่ายนี้ก็คือ 1. ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆที่มาจากหลายๆจังหวัด

2. ได้ความเป็นผู้นำ มีความกล้าแสดงออก ***























































วันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ความหมาย คำศัพท์ และไวยกรณ์ของหนังสือเรียนบทที่ 1

ความหมาย ......

ฟาบริซ, เด็กหนุ่มอายุ 14 ปี, กลับมาที่บ้าน ... ในห้องนอนของเขา มีเด็กหนุ่มวัยเดียวกับเขากำลังมองดูตนเองในกระจก
ฟาบริซ : เอ๊ะ นั่นมันเสื้อแจกเก็ตของฉันนี่ ... แล้วเธอยังเอากางเกงขายาวของฉันมาใส่อีก ...แล้วเธอเป็นใครกัน ... เธอมาทำอะไรในห้องของฉัน ... แล้วเข้ามาอย่างไร หนุ่มนิรนาม : ทางผนังห้องฟาบริซ : เธอพูดอะไรเรื่อยเปื่อย ! เธอเข้ามาอยู่ในนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่หนุ่มนิรนาม : 23 นาที กับ 10 วินาที แล้วเธอหละ เธออาศัยอยู่ที่นี่มานานแล้วหรือฟาบริซ : ก็ตั้งแต่ฉันเกิดมา ... เธออาศัยอยู่ที่ไหนหนุ่มนิรนาม : เอ่อ... ไม่ได้อยู่ที่ไหนเลยฟาบริซ : เธอดูหนังมากเกินไปแล้ว ! เอ้าว่าไง ... เธอเข้ามาทางไหนหนุ่มนิรนาม : ทางผนังห้อง ฉันบอกเธอแล้วไง ฉันไม่เคยโกหก ... ดูสิ
ภายในเสี้ยววินาที หนุ่มนิรนาม ผ่านทะลุผนังห้องออกไป ... และชั่วขณะหนึ่งต่อมา เขากลับเข้ามาในห้องด้วยวิธีเดิม ...ฟาบริซมองดูเขา ... ปากอ้า ... พูดอะไรไม่ออก
หนุ่มนิรนาม : ว่าไง ตอนนี้เชื่อฉันหรือยัง
ช่วงเวลานั้นเอง ประตูเปิดออก
โกลเอ้ : ฟาบริซ ฉันไปเรียนเต้นรำแล้วนะ ... โอ้ ... สวัสดี เธอไม่แนะนำเพื่อนของเธอหรือฟาบริซ : โกลเอ้ น้องสาวของฉัน และ ... เอ่อ...


คำศัพท์ [Vocabulaire] :

- n' importe quoi = [อะไรๆก็ไม่สำคัญ] อะไรๆก็ได้, : Elle dit n'importe quoi ! (หล่อนพูดอะไรเรื่อยเปื่อย) / n' importe qui = ใครๆก็ตาม : N'importe qui peut en faire autant. (ใครๆก็ทำได้เหมือนกัน) / n' importe où = ที่ไหนๆก็ได้ : Ne pose pas tes affaires n'importe où. (อย่าเอาข้าวของของเธอไปวางไว้ส่งเดช) / n' importe comment = [อย่างไรๆก็ได้] ชุ่ยๆ : Ce travail a été fait n'importe comment. (งานนี้ถูกทำอย่างชุ่ยๆ) / n' importe quand = เมื่อไหร่ๆก็ได้ : Tu peux venir chez moi n' importe quand. Ma maison est toujours ouverte pour toi. (เธอจะมาบ้านฉันเมื่อไหร่ก็ได้ บ้านฉันเปิดเสมอสำหรับเธอ)
- vivre (v.) = มีชีวิต, ดำรงชีวิต, อาศัยอยู่ : On vit plus longtemps grâce à la médecine. (เรามีชีวิตยืนยาวขึ้นเนื่องจากการแพทย์) / vie (n.f.) = ชีวิต, : Profitez bien de la vie. (จงใช้ชีวิตให้คุ้มค่า) / vivant (adj.) = ที่ยังมีชีวิตอยู่ : Mon père est mort mais ma mère est encore vivante. (พ่อของฉันตายแล้ว แต่แม่ของฉันยังมีชีวิตอยู่)
- ne ........nulle part (adv.) = ไม่......ที่ใดเลย
- mentir (v.) = โกหก, พูดปด / mensonge (n.m.) = คำเท็จ, คำโกหก / menteur, menteuse (adj. et n.) = คนโกหก, ที่โกหก
- être capable (de) (adj.) = สามารถ # être incapable (de) = ไม่สามารถที่จะ


ไวยกรณ์ [Grammaire] :

- Le passé composé
- Indicateurs de temps : - depuis + n. = ตั้งแต่ : Depuis la venue de l'hiver, les élèves sortent leurs plus beaux pull-over de l'armoire.
- depuis que + indicatif = ตั้งแต่ : Depuis que l'hiver est venu, les élèves sortent leurs plus beaux pull-over de l'armoire.

วันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Tout, Toute, Tous, Toutes

Tout, Toute, Tous, Toutes

Tout, Toute, Tous, Toutes [ adjectif ]
Tout + nm.s. = ตลอด, ทั้งหมด [tout entier]
- Elle parle tout le temps. (หล่อนพูดตลอดเวลา)
Toute + nf.s. = ตลอด, ทั้งหมด [tout entier]
- Toute la famille est réunie. (ทั้งครอบครัวมาอยู่พร้อมหน้ากัน)
Tous + nm.pl. = ทุกๆ [tous sans exception], แต่ละ [chaque] [ ออกเสียง : ตู๊ ]
- Mon père va travailler tous les jours. (พ่อของฉันไปทำงานทุกวัน)
Toutes + nf.pl. = ทุกๆ [tous sans exception], แต่ละ [chaque]
- J'aime toutes les fleurs. (ฉันชอบดอกไม้ทุกชนิด)
Tout, Tous, Toutes [ pronoms ]
Tout = ทุกสิ่งทุกอย่าง
- Tout va bien. (วันนี้ทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไปได้ด้วยดี)
- Nous aimons tout. (เราชอบทุกอย่าง)
Tous = ทุกคน / (ใช้แทนคำนามที่เอ่ยถึงมาก่อนทั้งบุคคลและสิ่งของ = ทุกคน, ทุกชิ้น...) [ ออกเสียง : ตู๊ส ]
- Tous souhaitent la paix. (ทุกคนปรารถนาความสงบ)
- Les enfants aiment tous la glace. (เด็กทุกคนชอบไอศครีม)
Toutes (ใช้แทนคำนามที่เอ่ยถึงมาก่อนทั้งบุคคลและสิ่งของ) = ทุกคน, ทุกชิ้น...
- Je connais bien ces filles. Toutes sont très gentilles. (ฉันรู้จักหญิงสาวเหล่านี้ดี ทุกคนนิสัยดีมาก)
- Ces fleurs sentent toutes bon. (ดอกไม้เหล่านี้หอมทุกชนิด(ทุกดอก)
Tout, Toute, Toutes [ adverbe ]
- Des livres tout neufs. (หนังสือใหม่เอี่ยม)
- Elle parle tout doucement. (หล่อนพูดเบาๆ...ช้าๆ)
(เช่นเดียวกับ adverbe, "tout" ไม่เปลี่ยนรูป ยกเว้นวางไว้หน้า adjectif เพศหญิงขึ้นต้นด้วย พยัญชนะ หรือ h ที่ออกเสียง) :
- Elle est tout étonnée, toute honteuse. (หล่อนแปลกใจมาก และละอายใจมากด้วย)
- Des fleurs toutes blanches. (ดอกไม้ที่มีสีขาวมากๆ)
(อย่างไรก็ตาม เรายอมรับการเปลี่ยนรูป (accord) หน้า adjectif เพศหญิงขึ้นต้นด้วย สระ หรือ h ใบ้) :
- La famille tout entière ou toute entière. (ทั้งครอบครัว)
le tout [ nom ] = ทั้งหมด [la totalité, l'ensemble]
- Donnez-moi le tout. (เอาทั้งหมดให้ฉัน)
Quelques expressions avec " tout "
en tout cas [en tous cas] : อย่างไรก็ตาม
• En tout cas, elle n'a rien à en vouloir à la terre entière. (อย่างไรก็ตาม หล่อนไม่ควรโกรธใครทั่วไปหมด)
c'est tout : หมดแล้ว, แค่นี้
• Là, c'est tout, c'est fini, ne pleure plus ! (ก็แค่นั้นเอง จบแล้ว ไม่ต้องร้องไห้อีกต่อไปแล้ว)
tout de suite 1. ในทันที
• Il a tout de suite compris. (เขาเข้าใจทันที) [Synonyme: immédiatement] 2. ถัดไปเล็กน้อย
• C'est tout de suite après le carrefour. (อยู่ถัดสี่แยกไปเล็กน้อย) [Synonyme: immédiatement] [Synonyme: aussitôt]
tout d'abord : ก่อนอื่น, แรกทีเดียว
• Tout d'abord, il ne l'a pas vue. (แรกทีเดียวเขาไม่เห็นหล่อน) [Remarque d'usage: forme renforcée de: "d'abord"]
tout comme : เหมือนกันไม่มีผิด
• Je l'ai vu tout comme je vous vois. (ฉันเห็นเขาเหมือนที่ฉันเห็นคุณนี่แหละ) [Remarque d'usage: forme renforcée de: "comme"]
comme tout : มาก (familier)
• Il est mignon comme tout ! (เขาน่ารักน่าเอ็นดูมาก) [Synonyme: très] [Remarque d'usage: se place après l'adjectif qu'il modifie]
tout à fait : 1. อย่างที่สุด, จริงๆ
• C'est tout à fait cela. (ถูกต้องที่สุด) [Synonyme: absolument] [Remarque d'usage: sert à exprimer le superlatif absolu] 2. [บางครั้งใช้เดี่ยวๆในประโยคคำตอบเพื่อเน้นการตอบรับว่า "ใช่"]
• Vous êtes d'accord ? -Tout à fait ! (คุณเห็นด้วยไหม - ใช่ ผมเห็นด้วยอย่างยิ่ง) [Synonyme: absolument]
du tout : 1. [ใช้เน้นการปฎิเสธ]
• Je n'aime pas du tout cela. (ฉันไม่ชอบสิ่งนี้เลย) 2. ไม่เลย, เปล่าเลย (soutenu)
• Je vous ennuie ? - Du tout, continuez. (ผมทำให้คุณรำคาญหรือเปล่า - เปล่าเลย ทำต่อไปเถอะ) [Remarque d'usage: employé dans une réponse pour renforcer "non", ou tout seul]
en tout : รวมทั้งหมด
• En tout, il devait y avoir une vingtaine de personnes. (รวมทั้งหมดแล้ว น่าจะมีราวๆยี่สิบคน) [Synonyme: au total]
ce n'est pas tout : ไม่เพียงเท่านั้น, ยังไม่หมดแต่เพียงเท่านี้
• Ce n'est pas tout, j'ai une autre annonce à vous faire ! (ยังไม่หมดแต่เพียงเท่านี้ ผมยังมีเรื่องอื่นจะบอกคุณอีก)
en tout et pour tout : รวมทั้งสิ้น [และไม่เกินไปกว่านี้] (familier)
• Il lui reste, en tout et pour tout, trois jours pour mettre la dernière main à son travail. (เขายังเหลือเวลาอีกสามวันเพื่อเก็บรายละเอียดงานให้เสร็จ)
et tout et tout : และยังอื่นๆอีก (familier)
• Il est beau, intelligent, charmant, et tout et tout. (เขาหล่อ ฉลาด มีเสน่ห์ และยังอื่นๆอีก) [Synonyme: et cætera]
à tout faire : ที่ถูกใช้ให้ทำทุกสิ่งทุกอย่าง
• Bonne à tout faire (คนรับใช้ที่ต้องทำทุกอย่าง)
• Homme à tout faire (ผู้ชายที่ต้องทำทุกสิ่งทุกอย่าง)
tout ou rien : ทั้งหมดหรือไม่ก็ไม่เลย
• Avec elle, c'est toujours tout ou rien. (กับหล่อนแล้ว เป็นประจำเลยต้องทั้งหมดหรือไม่ก็ไม่เลย)
être tout pour : เป็นทุกสิ่งทุกอย่าง [สำหรับใคร] (familier)
• Elle est tout pour lui. (หล่อนเป็นทุกสิ่งทุกอย่างสำหรับเขา)
tout... que : [ใช้ในประโยคที่แสดงความขัดแย้งว่าถึงแม้จะมากเพียงใดก็ตามก็ยังไม่สามารถ...]
• Tout drôle qu'il est, il ne la fait pas rire ! (ทั้งๆที่เขาตลกยังกับอะไรดี เขายังทำให้หล่อนหัวเราะไม่ได้เลย) [Remarque d'usage: la locution peut s'employer avec l'indicatif mais le subjonctif est plus fréquent]
être tout yeux tout oreilles : [หูตาโต] สนอกสนใจเป็นพิเศษ
• Face à la jeune femme, il était tout yeux tout oreilles. (อยู่ต่อหน้าหญิงสาว เขาหูตาโตเชียว)

วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551

Tu es comme ça

{Refrain:}
Tu es comme ça fier et libre
Tu peux partir là-basMais rien ne t'éloigne jamais
De ce que tu aimes, de ce que tu aimes
Tu es comme ça coeur fidèle
Ton regard se perd parfoisMais rien ne te fait oublier
De ce que tu aimes, de ce que tu aimes
Alors tu veux redonner, aux fleurs, au ciel, aux gens

Des couleurs qu'ils n'ont plus
Ramener la douceur un peu à ceux qu'ils l'ont perdu
Alors tu veux des musiques du temps des instants d'or pour apaiser le tiens
Quelques notes magiques un mot, un rien pour qu'ils soient bien
{au Refrain}
Alors tu veux caresser leurs coeurs, voler leurs âmes aux frissons de ta voix

Et leurs garder toujours ouverte ta maison et tes bras
Alors tu veux faire cadeau du temps, de l'éternelle, à ceux qui sont partis
Et garder ton sourire enfin pour eux à l'infini
Tu es comme ça passagère, tu peux rêver d'ailleurs,
Mais tous les chemins te ramène
{au Refrain}

LES PRONOMS PERSONNELS : Le pronom "y"

LES PRONOMS PERSONNELS : Le pronom "y" [คำสรรพนาม]
Le pronom "y"

หน้าที่ :

1.ใช้แทนคำนามที่นำหน้าด้วยบุพบทต่างๆ (ยกเว้นบุพบท "de") เพื่อบอกสถานที่

- Tu vas à Bangkok ?
Non, je n' y vais pas.
- Tu étudies dans cette école ?
Oui, j' y étudies depuis 3 ans.
- Il met toujours ses documents sur le bureau ?
Oui, il y met toujours ses documents.

** ระวัง : - Tu iras à Bangkok demain ?
Oui, j' irai. [สำหรับ verbe "aller" ในรูป futur simple
และ conditionnel จะไม่มีการแทนที่ ... ด้วยเหตุผลในเรื่องของการออกเสียง]

2. ใช้แทนคำนามที่เป็นสิ่งของนำหน้าด้วยบุพบท "à" หรือคำนามหรือส่วนของประโยค
ซึ่งมีโครงสร้างคำกริยาที่มีบุพบท "à" ประกอบ
- Tu penses à tes études ?
Oui, j' y pense.
- Vous jouez aux cartes ?
Oui, nous y jouons.

สำหรับคำนามที่เป็นบุคคล ใช้ "à" ตามด้วย สรรพนามที่ใช้ตามหลังบุพบท (pronom tonique) หรือใช้ สรรพนามที่ใช้แทนกรรมรอง (pronom complément d' objet indirect) วางไว้หน้าคำกริยา

- Je pense à ma mère. Je pense à elle tous les jours.
- Tu t' opposes à tes collègues ?
Oui, je m' opposes à eux.
- Tu parles à Isabelle ?
Oui, je lui parle.
- Elle téléphone à ses parents tous les jours ?
Oui, elle leur téléphone tous les jours.

สำนวนบางสำนวนที่ใช้กับ "y"

- Ça y est ! J' ai été reçu(e) à l' examen d' entrée.
(สำเร็จแล้ว ! ฉันสอบเอนทรานซ์ได้แล้ว !)
- Je n' y peux rien pour vous !
(ฉันช่วยอะไรคุณไม่ได้ !)
- Ne t' inquiète pas pour lui; il va s' y faire vite.
(ไม่ต้องกังวลเรื่องเขาหรอก เขาจะคุ้นเคยได้เร็ว)

ตำแหน่ง (place) : เช่นเดียวกับสรรพนามอื่นๆ "y" จะวางไว้หน้าคำกริยา :

- Tu participes aux jeux ?
Oui, j' y participe.
- Tu vas souvent au grand magasin ?
Non, je n' y vais pas souvent.

** ยกเว้น ในประโยคคำสั่งบอกเล่า "y" จะวางไว้หลังกริยา :
- Allons au restaurant !
Allons-y !

** ระวัง : - Va tout de suite à l' école.
Vas-y tout de suite !
[คืน "s" ให้กับรูปคำสั่งบุรุษที่ 2 เอกพจน์ที่เคยตัดออกไป เหตุผลเพียงเพื่อความไพเราะในการออกเสียง]

Sécurité routière

Sécurité routière [modifier]






Frein à disque
Le comportement des conducteurs est impliqué dans 95% des accidents. Une voiture sûre n'est pas synonyme d'une conduite sûre. En France les assureurs établissent leurs tarifs en tenant compte du modèle du véhicule. Plus le véhicule a une vitesse de pointe élevée, plus il est puissant et lourd, plus le taux d'accident et les dommages qu'il occasionne sont importants. Au
Canada, le domicile dans une zone urbaine et le type d'utilisation (occupation rémunérée ou loisir) sont les facteurs déterminants. Au début du XXIe siècle, la France a intensifié sa politique de répression en implantant des radars automatiques (fonctionnant sans intervention humaine). Cette politique a parfois été critiquée, contestant en particulier la pertinence des choix lors de l'implantation de ces radars à des endroits jugés peu dangereux. Les chiffres d'accidents ont néanmoins décru et la vitesse moyenne des usagers a également baissé.

สำนวนอังกฤษ

สำนวนอังกฤษ (Idiom และ สำนวนไทยที่นิยม)
1. a double –edged sword ดาบสองคม

2. Build castles in the air สร้างวิมานในอากาศ

3. Diamond cut diamond เพชรตัดเพชร

4. Hang by a thread แขวนอยู่บนเส้นด้าย

5. in two minds สองจิตสองใจ

6. lead by the nose จูงจมูก

7. let bygones be bygones ให้มันแล้ว แล้วไป

8. make someone's head spin ทำให้หัวปั่น

9. pave the way ปูทาง

10. play with fire เล่นกับไฟ

11.Slippery as an eel ลื่นเหมือนปลาไหล

12. a dirty old man เต่าหัวงู

13. The sooner the better ยิ่งเร็วยิ่งดี

14. Two-faced ตีสองหน้า

15. Sleeping partner เสือนอนกิน

16. A thorn in someone's flesh หนามยอกอก

17. an old flame ถ่านไฟเก่า

18. attemp an uphill task เข็นครกขึ้นเขา

19. before someone's eyes ต่อหน้าต่อตา

20. bone idle (lazy) ขี้เกียจสันหลังยาว

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551

รูปไปทัศนศึกษาที่เพชรบุรี






เพื่อนเราเป็นยังไงกันบ้างน๊า










สมาชิกในห้องเรา























วันเสาร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Fête

Fête

Du chocolat, en veux-tu en voilà !




Pâques est une fête religieuse. Mais c’est aussi la fête du chocolat.

Un produit dont la consommation… ne font pas, loin de là !
Quelle est la 3e matière la plus vendue dans le monde ? Le pétrole ? Le blé ? Le coton ?
Perdu, c’est le cacao. Chaque année, 3 millions de fèves de cacao sont récoltées dans un ensemble de 9 pays. 6 cacaoyers sur 10 sont cultivés en Afrique, surtout en Côte d’Ivoire. Le reste se trouve en Asie et en Amérique du sud. Les plus « chocofondus » sont les Suisses : chacun d’eux consomme en moyenne 9,4 kg de chocolat par an. Ils sont suivis de près par les Belges et les Irlandais. Les Français arrivent en 6e position avec 6,3 kg par an et par habitant. Chez nous, les consommateurs les plus réguliers sont plutôt les hommes. Pour 7 Français sur 10, le chocolat favori reste la tablette, suivie par les bonbons au chocolat, les barres chocolatées et, en dernière position, le chocolat en poudre. Entre 4 et 10 ans, 6 enfants sur 10 consomment une boisson chocolatée au petit-déjeuner.9 Français sur 10 affirment que le chocolat leur fait du bien. 7 sur 10 reconnaissent se sentir mieux et plus heureux après avoir avalé un carré

วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Les mots à ne pas confondre !คำสับสนในภาษาฝรั่งเศส

บ่อยครั้งเมื่อเราพบคำศัพท์ เราจำสับสนเพราะเขียนคล้ายกันมาก เช่น sale [สกปรก] กับ salle [ห้อง] ทำให้ตีความผิดๆ หรือคำเดียวกันแ่ต่ต่างเพศ ความหมายก็แตกต่างกัน เช่น un livre [หนังสือ] กับ une livre [นํ้าหนักหนึ่งปอนด์] หรือบางครั้งก็พ้องเสียง (homonyme) เช่น voie [ช่องทาง] voix [เสียง] voir [เห็น] voire [ซํ้ายัง ... เสียอีก] ทำให้เราเขียนผิดหรือแปลความหมายผิด ในส่วนของความหมายเองก็ทำให้เราสับสนในการเลือกใช้คำ เช่น accident และ incident ที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาก คำศัพท์เหล่านี้์ ไม่ว่าจะพ้องรูป พ้องเสียง หรือพ้องความหมาย จึงน่าสนใจที่จะศึกษาเพื่อการตีความที่ถูกต้อง และนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและมั่นใจ

วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Parler de musique : พูดคุยเรื่องดนตรี

Parler de musique : พูดคุยเรื่องดนตรี



• Quel genre de musique est-ce que tu aimes ?
[เธอชอบดนตรีประเภทไหน]
- J'aime la musique pop mais je préfère la musique classique.
[ฉันชอบดนตรีป๊อปแต่ฉันชอบดนตรีคลาสสิคมากกว่า]


• Vous faites de la musique ?
[เธอเล่นดนตรีบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je suis passionné par toutes sortes de musique.
[ครับ ผมหลงใหลในดนตรีทุกชนิด]


• Tu joues d'un instrument de musique ?
[เธอเล่นเครื่องดนตรีใดบ้างหรือเปล่า]
- Oui, je joue du piano, de la guitare et je fais aussi du violon.
[เล่น ฉันเล่นเปียโน, กีตาร์ และฉันเล่นไวโอลินด้วย]

Rue de Siam

Rue de Siam




" Rappelle-toi BarbaraIl pleuvait sans cesse sur Brest ce jour-làEt tu marchais sourianteEpanouie ravie ruisselanteSous la pluieRappelle-toi BarbaraIl pleuvait sans cesse sur BrestEt je t'ai croisée rue de Siam… "
Jacques PREVERT " Barbara "


Rue de Siam, célébrée par Prévert, chère au cœur des marins qui l'arpentent, fringants dans leur uniforme, gantés, la tête haute… Mais d'où peut-il bien lui venir, ce nom de Siam à la résonance asiatique, elle qui touche l'extrémité de la Bretagne ? Je vais vous en conter l'histoire. Le 18 juin 1686, les vaisseaux " l'Oiseau " et " la Maligne " amènent à Brest trois ambassadeurs du roi de Siam, accompagnés de six mandarins et d'une nombreuse suite. Les ambassadeurs apportent à Louis XIV de somptueux présents ainsi qu'une lettre du roi de Siam. Louis XIV, qui voulait, en les faisant venir à Paris par terre, rendre plus fastueuse et plus éclatante la mission dont ils étaient chargés, avait envoyé, pour les accompagner, deux gentilshommes de sa chambre. Partout où ils passèrent, les villes ouvraient leurs portes avec un pompeux empressement, partout la foule se pressait pour les voir. Cet événement émerveilla à ce point les Brestois qu'ils débaptisèrent la rue Saint-Pierre qu'empruntèrent les ambassadeurs pour se rendre à l'hôtel du même nom (l'ancienne Préfecture maritime), lui donnant le nom de RUE DE SIAM qu'elle a conservé depuis lors.

วันศุกร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Les phrases exclamatives ! (ประโยคอุทาน)

Les phrases exclamatives ! (ประโยคอุทาน)
เราสามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ [ความพึงพอใจ (satisfaction), ความชื่นชอบ (admiration), ความประหลาดใจ (surprise), ความโกรธ (colère), ความเสียดาย (regret)] โดยการใช้ประโยคอุทาน (phrase exclamative) :
Quel(s) / Quelle(s) + nom :
Quel + nm.s !
- Quel temps ! (อากาศอะไรกันนี่ !)
Quelle + nf.s !
- Quelle bonne idée ! (ช่างเป็นความคิดที่ดี !)
Quels + nm.pl. !
- Quels beaux bijoux ! (เครื่องประดับที่งดงามอะไรเช่นนี้ !)
Quelles + nf.pl !
- Quelles belles fleurs ! (ดอกไม้สวยงามอะไรเช่นนี้ !)
Que / Ce que / Comme + phrase [ประโยค] ! :
- Qu'il fait chaud ! / Ce qu'il fait chaud ! / Comme il fait chaud ! (อากาศร้อนอะไรอย่างนี้ !)
- Que c'est cher ! / Ce que c'est cher ! / Comme c'est cher ! (แพงอะไรอย่างนี้ !)
[ ** ในภาษาสำหรับคนคุ้นเคยกัน เรามักจะใช้ " Qu'est-ce que ..." : Qu'est-ce qu'il fait chaud ! / Qu'est-ce que c'est cher ! ]
Que de + nom (ไม่มี article)
- Que de monde ! (ผู้คนมากมายจังเลย !)
- Que de bonnes choses ! (มีแต่ของดีๆทั้งนั้นเลย !)
สำนวนต่างๆที่แสดงถึง [De nombreuses expressions invariables qui marquent] :
ความประหลาดใจ [surprise] : Ça alors ! / Pas possible ! / C'est pas vrai ! / Oh ! la ! la ! ... / Mon Dieu !
- Oh ! la ! la !, Que tu es belle ! (โอ้ ลา ลา ! เธอสวยอะไรอย่างนี้ !)
ความกลัว [peur] , การเตือนให้ระวังภัย...[danger] : Attention ! / Au secours ! ...
- Attention ! Tu vas tomber ! (ระวัง ! เดี๋ยวเธอจะล้ม !)
- Il y a l'incendie dans l'immeuble ! Au secours ! (ไฟไหม้ตึก ช่วยด้วย ๆ !)
ความเสียดาย, ความเสียใจ [regret] : Quel dommage ! / Tant pis ! ...
- On n'a pas pu visiter le marché flottant. Quel dommage ! (เราไม่สามารถไปเที่ยวตลาดนํ้าได้ น่าเสียดายจัง !)
- Il n'y a plus de place pour le concert ! Tant pis ! (ไม่มีที่สำหรับคอนเสิร์ตแล้ว แย่จัง ! )
ความพึงพอใจ [surprise] : Bravo ! / Tant mieux ! / Génial ! / Super ! / Chic alors ! / Magnifique ! / Merveilleux !..
- Tu as réussi à l'examen. Bravo ! (เธอสอบได้แล้ว ไชโย !)
- On ne doit plus refaire ce travail. Tant mieux ! (เราไม่ต้องทำงานชิ้นนี้อีก ดีจังเลย !)
ความแค้นใจ [dépit], ความหงุดหงิดรำคาญใจ [agacement] : Zut !
- Zut ! Il pleut ! Je ne peux pas sortir ! (อ้ะ ! ฝนตก ! ฉันออกไปข้างนอกไม่ได้แล้ว !)

วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Futur proche

Futur proche


เป็นรูปแบบการแสดงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นใน... อนาคตอันใกล้
รูปแบบตัวอย่าง

Je vais aller à l’école.ฉันจะไปโรงเรียน
Tu vas manger.เธอจะกิน
Il/elle va comprendre.เขาจะเข้าใจ
Nous allons rentrer.เราจะกลับบ้าน
Vous allez lire.คุณจะอ่าน
Ils/elles vont terminer le travail.พวกเขาจะทำงานให้เสร็จ

My best friend

Mes amis